พระสมเด็จจิตรลดา หรือ พระกำลังแผ่นดิน
จัดเป็นหนึ่งในสุดยอดพระมหามงคล
เป็นพระเครื่องที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสร้างด้วยพระหัตถ์ของพระองค์เอง
เป็นพระเครื่องที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสร้างด้วยพระหัตถ์ของพระองค์เอง
และพระราชทานแก่ทหาร ตำรวจ ข้าราชการ และพลเรือน
ในระหว่างปี พ.ศ. 2508 - พ.ศ. 2513 มีทั้งสิ้นประมาณ 2,500 องค์
ทุกองค์มีเอกสารส่วนพระองค์ หรือใบกำกับพระ แสดงชื่อ-สกุล
ในระหว่างปี พ.ศ. 2508 - พ.ศ. 2513 มีทั้งสิ้นประมาณ 2,500 องค์
ทุกองค์มีเอกสารส่วนพระองค์ หรือใบกำกับพระ แสดงชื่อ-สกุล
วันที่รับพระราชทาน หมายเลขกำกับทุกองค์
พระสมเด็จจิตรลดา หรือ พระกำลังแผ่นดิน
ความเป็นมาของการสร้างพระสมเด็จจิตรลดานั้น ในราวปี พ.ศ. 2508
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ
ให้นายไพฑูรย์ เมืองสมบูรณ์ ข้าราชการกองหัตถศิลป กรมศิลปากร
เป็นผู้แกะแม่พิมพ์พระพุทธรูปนี้ในพระราชฐาน ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน
และทรงตรวจพระพุทธศิลป์ของพระพุทธรูปพิมพ์นี้จนเป็นที่พอพระราชหฤทัย
พระพุทธรูปพิมพ์ที่แกะถวายนั้น เป็นพระพุทธรูปพิมพ์นั่งปางสมาธิแบบขัดราบ
พระบาทขวาทับพระบาทซ้าย ประทับเหนือดอกบัวบาน บน 5 กลีบ ล่าง 4 กลีบ รวมเป็น 9 กลีบ
รูปทรงสามเหลี่ยมหน้าจั่ว พิมพ์ใหญ่ขนาดกว้าง 2 เซนติเมตร สูง 3 เซนติเมตร
พิมพ์เล็ก ขนาดกว้าง 1.2 เซนติเมตร สูง 1.9 เซนติเมตร
พระพุทธลักษณะขององค์พระสมเด็จจิตรลดา
ซึ่งทรงสร้างขึ้นระหว่าง ปี พ.ศ. 2508 - พ.ศ. 2513 มีความแตกต่างกันออกไป
ความลึกและคมชัดขององค์พระในแต่ละปีก็ไม่เท่ากัน เนื้อพระ สีพระ
ความหนาบางขององค์พระในแต่ละปีก็แตกต่างกัน
พระสมเด็จจิตรลดาพิมพ์เล็กมีไม่มากนัก
ทรงมีการพระราชทานให้เพียง 2 ปีเท่านั้น คือปี พ.ศ. 2508 และปี พ.ศ. 2509
องค์พระดูเหมือนจะไม่มีความแตกต่างสำหรับพิมพ์เล็ก
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงใช้เวลาว่างหลังจากทรงพระอักษรและทรงงาน
พระสมเด็จจิตรลดา หรือ พระกำลังแผ่นดิน
ความเป็นมาของการสร้างพระสมเด็จจิตรลดานั้น ในราวปี พ.ศ. 2508
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ
ให้นายไพฑูรย์ เมืองสมบูรณ์ ข้าราชการกองหัตถศิลป กรมศิลปากร
เป็นผู้แกะแม่พิมพ์พระพุทธรูปนี้ในพระราชฐาน ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน
และทรงตรวจพระพุทธศิลป์ของพระพุทธรูปพิมพ์นี้จนเป็นที่พอพระราชหฤทัย
พระพุทธรูปพิมพ์ที่แกะถวายนั้น เป็นพระพุทธรูปพิมพ์นั่งปางสมาธิแบบขัดราบ
พระบาทขวาทับพระบาทซ้าย ประทับเหนือดอกบัวบาน บน 5 กลีบ ล่าง 4 กลีบ รวมเป็น 9 กลีบ
รูปทรงสามเหลี่ยมหน้าจั่ว พิมพ์ใหญ่ขนาดกว้าง 2 เซนติเมตร สูง 3 เซนติเมตร
พิมพ์เล็ก ขนาดกว้าง 1.2 เซนติเมตร สูง 1.9 เซนติเมตร
พระพุทธลักษณะขององค์พระสมเด็จจิตรลดา
ซึ่งทรงสร้างขึ้นระหว่าง ปี พ.ศ. 2508 - พ.ศ. 2513 มีความแตกต่างกันออกไป
ความลึกและคมชัดขององค์พระในแต่ละปีก็ไม่เท่ากัน เนื้อพระ สีพระ
ความหนาบางขององค์พระในแต่ละปีก็แตกต่างกัน
พระสมเด็จจิตรลดาพิมพ์เล็กมีไม่มากนัก
ทรงมีการพระราชทานให้เพียง 2 ปีเท่านั้น คือปี พ.ศ. 2508 และปี พ.ศ. 2509
องค์พระดูเหมือนจะไม่มีความแตกต่างสำหรับพิมพ์เล็ก
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงใช้เวลาว่างหลังจากทรงพระอักษรและทรงงาน
อันเป็นราชภารกิจในเวลาดึก
สร้างด้วยพระหัตถ์ของพระองค์เองโดยใช้ผงมงคลอันศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ
สร้างด้วยพระหัตถ์ของพระองค์เองโดยใช้ผงมงคลอันศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ
ทั้งส่วนพระองค์และวัตถุศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ
อันศาสนิกชนทั่วพระราชอาณาจักรได้ปฏิบัติบูชาสืบเนื่องกันมาเป็นเวลาช้านาน ประกอบด้วย
ก. ส่วนในพระองค์
1. ดอกไม้แห้งจากมาลัยที่ประชาชนได้ทูลเกล้าฯ
ถวายในการเสด็จพระราชดำเนินเปลี่ยนเครื่องทรงพระพุทธปฏิมากรแก้วมรกต
และได้ทรงแขวนไว้ที่องค์พระพุทธปฏิมากรตลอดเทศกาล
จนถึงคราวที่จะเปลี่ยนเครื่องทรงใหม่ ดอกไม้แห้งนี้ได้โปรดเกล้าฯ ให้รวบรวมไว้
2. เส้นพระเจ้า (เส้นผม) ซึ่งเจ้าพนักงานได้รวบรวมไว้หลังจากทรงพระเครื่องใหญ่ทุกครั้ง
3. ดอกไม้แห้งจากมาลัยที่แขวนพระมหาเศวตฉัตรและด้ามพระขรรค์ชัยศรีในพระราชพิธีฉัตรมงคล
4. สีซึ่งขูดจากผ้าใบที่ทรงเขียนภาพฝีพระหัตถ์
5. ชันและสีซึ่งทรงขูดจากเรือใบพระที่นั่งขณะที่ทรงตกแต่งเรือใบพระที่นั่ง
ข. ส่วนที่มาจากจังหวัดต่าง ๆ ทุกจังหวัดทั่วพระราชอาณาจักร
วัตถุเครื่องผสมที่มาจากต่างจังหวัดนี้ กระทรวงมหาดไทยได้นำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวาย
เป็นวัตถุที่ได้มาจากปูชนียสถานหรือพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่ประชาชนเคารพบูชาในแต่ละจังหวัด
อันได้แก่ดินหรือตะไคร่น้ำแห้งจากปูชนียสถาน เปลวทองคำปิดพระพุทธรูป ผงธูปหน้าที่บูชา
น้ำจากบ่อศักดิ์สิทธิ์ซึ่งได้เคยนำมาใช้เป็นน้ำสรงมุรธาภิเษกในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก
ผงธูปและดินจากกระถางธูปที่บูชาในศาลหลักเมืองทุกกระถาง
ผงจากพระปรางค์วัดอรุณราชวราราม กรุงเทพมหานคร เปลวทองจากพระมงคลบพิตร
ผงจากพระเจดีย์ศรีสุริโยทัย วัดสวนหลวงสบสวรรค์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ฯลฯ
โดยทรงมีพระราชดำรัสแก่ผู้รับพระราชทานว่า
อันศาสนิกชนทั่วพระราชอาณาจักรได้ปฏิบัติบูชาสืบเนื่องกันมาเป็นเวลาช้านาน ประกอบด้วย
ก. ส่วนในพระองค์
1. ดอกไม้แห้งจากมาลัยที่ประชาชนได้ทูลเกล้าฯ
ถวายในการเสด็จพระราชดำเนินเปลี่ยนเครื่องทรงพระพุทธปฏิมากรแก้วมรกต
และได้ทรงแขวนไว้ที่องค์พระพุทธปฏิมากรตลอดเทศกาล
จนถึงคราวที่จะเปลี่ยนเครื่องทรงใหม่ ดอกไม้แห้งนี้ได้โปรดเกล้าฯ ให้รวบรวมไว้
2. เส้นพระเจ้า (เส้นผม) ซึ่งเจ้าพนักงานได้รวบรวมไว้หลังจากทรงพระเครื่องใหญ่ทุกครั้ง
3. ดอกไม้แห้งจากมาลัยที่แขวนพระมหาเศวตฉัตรและด้ามพระขรรค์ชัยศรีในพระราชพิธีฉัตรมงคล
4. สีซึ่งขูดจากผ้าใบที่ทรงเขียนภาพฝีพระหัตถ์
5. ชันและสีซึ่งทรงขูดจากเรือใบพระที่นั่งขณะที่ทรงตกแต่งเรือใบพระที่นั่ง
ข. ส่วนที่มาจากจังหวัดต่าง ๆ ทุกจังหวัดทั่วพระราชอาณาจักร
วัตถุเครื่องผสมที่มาจากต่างจังหวัดนี้ กระทรวงมหาดไทยได้นำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวาย
เป็นวัตถุที่ได้มาจากปูชนียสถานหรือพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่ประชาชนเคารพบูชาในแต่ละจังหวัด
อันได้แก่ดินหรือตะไคร่น้ำแห้งจากปูชนียสถาน เปลวทองคำปิดพระพุทธรูป ผงธูปหน้าที่บูชา
น้ำจากบ่อศักดิ์สิทธิ์ซึ่งได้เคยนำมาใช้เป็นน้ำสรงมุรธาภิเษกในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก
ผงธูปและดินจากกระถางธูปที่บูชาในศาลหลักเมืองทุกกระถาง
ผงจากพระปรางค์วัดอรุณราชวราราม กรุงเทพมหานคร เปลวทองจากพระมงคลบพิตร
ผงจากพระเจดีย์ศรีสุริโยทัย วัดสวนหลวงสบสวรรค์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ฯลฯ
โดยทรงมีพระราชดำรัสแก่ผู้รับพระราชทานว่า
"ให้ปิดทองที่หลังองค์พระปฏิมาแล้วเอาไว้บูชาตลอดไป
ให้ทำความดีโดยไม่หวังสิ่งตอบแทนใด ๆ"
การปิดทองด้านหลังองค์พระ
เป็นปริศนาธรรมที่ทรงมีพระราชดำริในการปลูกฝัง
การปิดทองด้านหลังองค์พระ
เป็นปริศนาธรรมที่ทรงมีพระราชดำริในการปลูกฝัง
นิสัยให้ผู้รับพระราชทานนำไปคิดในทำนองว่า
การที่บุคคลใดจะทำกุศลหรือประโยชน์สาธารณะใด ๆ นั้น
พึงมุ่งหวังให้เกิดประโยชน์แก่ผู้อื่นโดยแท้จริง
การที่บุคคลใดจะทำกุศลหรือประโยชน์สาธารณะใด ๆ นั้น
พึงมุ่งหวังให้เกิดประโยชน์แก่ผู้อื่นโดยแท้จริง
โดยไม่หวังลาภยศชื่อเสียงใด ๆ